รับทําโบรชัวร์แผ่นพับ
การพิมพ์รับทำโบรชัวร์แผ่นพับ คือ การผลิตสื่อโฆษณาที่เป็นสิ่งพิมพ์ ที่พิมพ์ลงบนกระดาษ มีจุดประสงค์เพื่อที่จะใช้โฆษณาต่างๆ ในความจริง โบรชัวร์ จะมีทั้งแบบเป็นเล่ม และแบบเป็นกระดาษแผ่นเดียว แต่ในประเทศไทย จะเรียกโบรชัวร์ที่เป็นเล่มว่า แคตตาล๊อค ซึ่งเป็นความเข้าใจผิด เพราะ แคตตาล็อค จริงๆ แล้วมันคือ บัญชีรายชื่อ และโบรชัวร์ก็คือหนังสือเล่มเล็กๆ เพราะฉนั้นหนังสือโฆษณาที่มีขนาดเล็ก และมีรายชื่อและรูปภาพสินค้าต่างๆ มากมายเราจึงเรียกมันว่า แคตตาล๊อคโบรชัวร์ แต่อย่างไรก็ตามนั้นไม่ใช่เรื่องที่สำคัญอะไรเพราะไม่มีใครสนใจจริงๆ ว่ามันถูกเรียกว่าอะไร แต่ที่ทุกคนเข้าใจก็คือมันมีไว้โฆษณาต่างๆ แค่นั้นก็พอ
โบรชัวร์ มีมากมายหลากหลายรูปแบบ ทั้งแบบใบปลิวที่เป็นกระดาษแผเ่นเดียวไม่พับ หรือแบบแผ่นพับที่ก็เป็นกระดาษแผ่นเดียวแต่มีการพับครึ่ง หรือพับเป็น 2-3 ทบ และแบบที่เป็นเล่มหนังสือขนาดเล็ก แต่ไม่ว่ามันจะเป็นในรูปแบบไหน ความต้องการของผู้ผลิตก็คือแจกมันให้กับคนอื่น แทบจะไม่ค่อยมีให้เห็นสักเท่าไหร่ ที่จะมีการขายโบรชัวร์ให้กับบุคคลทั่วไป (ไม่นับรวมการจ้างผลิตเพราะไม่ใช่การขาย) เพราะความต้องการที่จะผลิต
โบรชัวร์แล้วนั้น โดยส่วนมากจะใช้เพื่อการโฆษณาต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการโฆษณาสินค้า การโฆษณาประชาสัมพันธ์ ซึ่งการทำในสิ่งเหล่านั้นปกติก็จะมี
ค่าใช้จ่ายในการโฆษณาอยู่แล้วมันจึงทำให้ผู้ผลิตหลายคนเลือกที่จะใช้การพิมพ์โบรชัวร์ เป็นทางเลือกในการทำโฆษณาเพราะมีราคาค่าลงทุนที่ต่ำ
เมื่อเทียบกับการทำโฆษณาในรูปแบบอื่น อย่างที่หลายๆ คนรู้กันว่าราคาต้นทุนในการทำงานออฟเซ็ทนั้นมีราคาที่ต่ำกว่าการพิมพ์จากเครื่องพิมพ์
Inkjet เป็นอย่างมากถ้าเราพิมพ์ในปริมาณที่เยอะ มันจึงทำให้หลายๆ คนเลือกที่จะพิมพ์โบรชัวร์ผ่านการพิมพ์ออฟเซ็ทแทนการพิมพ์ประเภทอื่นๆ
โบรชัวร์ (Brochure)/แคตตาล็อก(Catalogue)
รับทําโบรชัวร์ แผ่นพับ แคตตาล็อกในรูปแบบต่าง ๆ
รับพิมพ์โบรชัวร์ แผ่นพับ
โรงพิมพ์โบรชัวร์ของเรารับพิมพ์โบชัวร์ รับทำโบรชัวร์ แผ่นพับ ทุกรูปแบบ
โบรชัวร์มีไว้เพื่อเสนอสินค้าหรือโฆษณาโดยตรง ไม่ว่าจะเป็น การโฆษณาขายสินค้า , การโฆษณาบริษัท เพื่อให้เป็นที่รู้จักต่อคนทั่วไปเพราะส่วนใหญ่เราจะเห็นกันทั่วไปเวลาเดินไปในห้าง ก็มักจะมีการแจกโบรชัวร์กันเต็มไปหมด ดังนั้นเราจึงรู้ได้ว่าการพิมพ์โบรชัวร์มีไว้สำหรับโฆษณา
ขนาดกระดาษที่นิยมพิมพ์โบรชัวร์
1. ขนาด A6 คือ (14.85 x 10.50 เซนติเมตร)
2. ขนาด A5 คือ (14.8 x 21 เซนติเมตร)
3. ขนาด A4 คือ (21 x 29.7 เซนติเมตร)
4. ขนาด A3 คือ (29.7 x 42 เซนติเมตร)
ชนิดกระดาษที่ใช้ทำโบรชัวร์ ทำแผ่นพับ
กระดาษที่ใช้ทำโบรชัวร์ขึ้นอยู่กับลูกค้าว่าต้องการกระดาษแบบไหน ไม่ว่าจะเป็น กระดาษปอนด์ 60 แกรม , 70 แกรม , 80 แกรม , 85 แกรม , และ 100 แกรม หรือจะเป็นกระดาษอาร์ตมัน 85 แกรม , 100 แกรม , 105 แกรม , 120 แกรม , 130 แกรม , และ 160 แกรม ลูกค้าสามารถเลือกชนิดกระดาษได้และยังเลือกอีกว่าจะพิมพ์กี่สี 1 สี , 2 สี , 3 สี , 4 สี ก็ได้
สิ่งที่ควรมีในการทำโบรชัวร์
1. รูปโฆษณาที่โดดเด่น
การที่ทำให้รูปสินค้าหรือสิ่งที่การขายต้องทำให้ดูโดดเด่นมากที่สุดเพื่อให้คนที่อ่านแล้วรู้ว่าเราโฆษณาอะไร
2. ข้อมูล
การใส่ข้อมูลจะเป็นสิ่งที่อยากโฆษณาให้ข้อมูลตรงกันหรือจะเพิ่มข้อมูลของบริษัทไปด้วยก็ได้
3. การพับ
เราต้องดูด้วยว่าเราต้องพับแบบไหนเพื่อให้เรียงหน้าปกและเนื้อที่ไว้สำหรับข้อมูลควรใส่ข้อมูลไว้ตรงไหนบ้าง
สิ่งที่ควรคิดก่อนทำโบรชัวร์
1. กำหนดหัวข้อ
กำหนดหัวข้อว่าเราจัดทำโบรชัวร์ขึ้นเพื่อนำไปโฆษณาอะไรเพื่อให้ออกแบบได้ตรงกับข้อหัว
2. วางแผน
การที่จะออกแบบเราต้องมีการคิดก่อนว่างานจะออกมาประมาณไหน เพื่อไม่ให้เสียเวลาและในการทำแล้วใช้ไม่ได้ จะต้องคิดหลายๆอย่าง เช่น การพับ , ขนาดกระดาษ , ข้อมูลที่จัดเตรียมไว้เพื่อจะใส่ ดังนั้นการออกแบบควรที่จะคิดถึงเรื่องเหล่านี้ก่อนที่จะลงมือออกแบบ
3. การเลือกขนาดกระดาษของโบรชัวร์
การเลือกใช้กระดาษควรที่จะเลือกกระดาษให้เหมาะสมกับข้อมูลที่จะใส่ด้วย ไม่ว่าจะเป็นขนาดกระดาษ A6 , A5 , A4 , A3 ดังนั้นขนาดกระดาษก็เป็นเรื่องที่สำคัญในการใส่ข้อมูล
4. การใส่ข้อมูล
การใส่ข้อมูลไม่ควรใส่ข้อมูลที่เยอะเกินไปเพราะพื้นที่โบรชัวร์มีอยู่อย่างจำกัดและควรจะใช้ฟอนต์ที่อ่านได้ง่ายและสีให้ตัดกับสีพื้นอย่างชัดเจนเพื่อคนอ่านได้ง่าย
5. การเลือกใช้สี
การเลือกใช้สีควรที่จะใช้สีพื้นกับสีตัวอักษรที่ตัดกันอย่างชัดเจน เพื่อให้โบรชัวร์ของเราดูโดดเด่นเป็นที่สนใจของคนที่เข้าอ่านโบรชัวร์ ถ้าเราเลือกสีพื้นกับสีตัวอักษรที่ใกล้เคียงกันเกินไปอาจจะทำให้คนที่อ่านแล้วไม่อยากอ่านต่อเพราะมันอ่านเยอะเกินไป
ขั้นตอนก่อนการพิมพ์โบรชัวร์
1. การออกแบบ
การออกแบบต้องคิดหลายๆอย่าง เช่น การพับ , ขนาดกระดาษ , ข้อมูลที่จัดเตรียมที่จะใส่ ดังนั้นการออกแบบควรที่จะคิดถึงเรื่องเหล่านี้ก่อนที่จะลงมือออกแบบ เพื่อให้เสียเวลาในการทำน้อยที่สุด
2. การตรวจสอบไฟล์หลังออกแบบ
การตรวจสอบไฟล์หลังออกแบบเสร็จแล้วเพื่อไม่ให้งานผิดพลาดและยังเป็นการช่วยให้โรงพิมพ์ทำงานได้รวดเร็ว
3. การส่งไฟล์ให้โรงพิมพ์
การส่งไฟล์ให้กับโรงพิมพ์ควรเป็นไฟล์ที่สมบูรณ์ที่สุดเละสามารถออกเพลทได้เลย เพื่อให้งานส่งถึงคุณได้ทันเวลา ถ้าเราส่งไฟล์ที่ไม่สมบูรณ์ให้กับทางโรงพิมพ์แล้ว ทางโรงพิมพ์เช็คไฟล์แล้วไม่สมบูรณ์โรงพิมพ์จะให้คุณแก้ เพราะทางโรงพิมพ์จะไม่แก้ไขงานของคุณ
4. ขั้นตอนการออกเพลท
ขั้นตอนการออกเพลทเพื่อนำไปเข้าเครื่องพิมพ์ก่อนที่จะทำการออกเพลทคนที่ออกเพลทเขาจะต้องตรวจสอบไฟล์อีกครั้งเพื่อไม่ให้ผิดพลาดหลังจากที่ยิงเพลทออกมาแล้วคนที่ยิงเพลทจะต้องมีการเช็คเพลทว่ามีรอยอะไรไปอยู่ในงานรึป่าวและเช็คตัวอักษรว่ามีตัวอักษรหายไปไหม ก่อนที่จะส่งต่อให้ช่างพิมพ์
ขั้นตอนการพิมพ์โบรชัวร์
ขั้นตอนการพิมพ์โบรชัวร์จะต้องการตรวจเช็คสีของงานที่พิมพ์ออกมาอยู่ตลอดเวลาเพื่อให้สีตรงกับตัวอย่างมากที่สุด ดังนั้นช่างพิมพ์จะต้องมีความสามารถได้ด้านการพิมพ์พอสมควรเพราะการพิมพ์มีข้อผิดพลาดได้ตลอดเวลา จึงต้องมีช่างพิมพ์ที่มีประสบการณ์เพื่อให้งานผิดพลาดน้อยที่สุด
ขั้นตอนหลังการพิมพ์
1. ขั้นตอนการตัดซอย
ขั้นตอนการตัดซอยให้งานมาเป็นขนาดที่เราต้องการไม่ว่าจะเป็นขนาด A6 , A5 , A4 , A3 ส่วนใหญ่งานโบรชัวร์จะถูกเลย์มาหลายๆตัวให้ลงใบพิมพ์ ได้พอดี เลยต้องมีการตัดซอยให้งานออกเป็นขนาดที่เราต้องการและแบ่งกันอย่างชัดเจน
2. ขั้นตอนการพับ
ขั้นตอนการพับขึ้นอยู่กับลูกค้าว่าต้องการทำแผ่นพับแบบไหน เช่น พับครึ่ง , 2 พับ 3 ตอน , 3 พับ 4 ตอน , พับซิกแซก 2 พับ 3 ตอน , พับซิกแซก 3 พับ 4 ตอน ขึ้นอยู่กับลูกค้าระบุมาแบบไหน
3. ขั้นตอนการแพ็คของ
ขั้นตอนการแพ็คของเพื่อเตรียมจัดส่งให้ลูกค้าและสามารถขนย้ายได้สะดวกและสวยงามกว่าส่งงานไปแบบไม่ห่ออะไรเลย
4. ขั้นตอนการส่งงาน
ขั้นตอนการส่งงานควรที่จะจัดส่งให้ถึงลูกค้าตามที่กำหนดไว้ หรือถ้าไม่ทันจริงควรมีการแจ้งลูกค้าก่อน (จัดส่งฟรีภายใน 30 กม. จาก บ.เอบิซ)
แคตตาล็อก
แคตตาล็อกมีไว้สำหรับโฆษณาต่างๆ คล้ายๆกับโบรชัวร์เป็นการโฆษณาเหมือนกันแต่แคตตาลอกจะไม่ใช่กระดาษแผ่นเดียวแคตตาลอกจะมีกว่า 2 หน้า และจะมีการเข้าเล่ม ส่วนใหญ่ที่เห็นการเข้าเล่มของแคตตาล็อกจะเป็นการเข้าเล่มแบบเย็บแม็ก เพราะงานแคลตาล็อกจะมีจำนวนไม่เยอะมาก
ประเภทของแคตตาล็อก
1. แคตตาล็อกที่ขายสินค้าโดยตรง
แคตตาล็อกที่ขายสินค้าโดยตรงก็คือจะมีรูปสินค้าที่เป็นจุดเด่นและจะมีรายละเอียดเกี่ยวกับสินค้าที่จะขาย เพื่อทำให้สินค้าของเราเป็นที่รู้จักและให้เข้าถึงให้ได้มากที่สุด
2. แคตตาล็อกที่จะนำเสนอเกี่ยวกับบริษัท
แคตตาล็อกที่จะนำเสนอเกี่ยวกับบริษัทของตัวเองเพื่อให้บริษัทของเราเป็นที่รู้จักต่อคนทั่วไปและจะรายละเอียดเกี่ยวกับบริษัทอยู่ว่าบริษัทของเราเป็นบริษัทประเภทไหนทำธุรกิจเกี่ยวกับอะไร
3. แคตตาล็อกที่ขายสินค้าและมีหน้าร้าน
จะเป็นแคตตาล็อกที่ขายสินค้าแล้วมีหน้าร้านจริงๆไว้ต้อนรับลูกค้าที่เข้ามาซื้อสินค้าของเรา การที่มีหน้าร้านดีตรงที่ว่าลูกค้าสามารถจับต้องสินค้าก่อนที่จะซื้อได้
4. แคตตาล็อกที่ขายสินค้าแต่ไม่มีหน้าร้าน
แคตตาล็อกที่ขายสินค้าแต่ไม่มีหน้าร้าน ส่วนใหญ่จะเป็นการขายสินค้าที่ส่งตรงถึงลูกค้าเลย แต่การขายประเภทนี้จะต้องมีเครดิตมากพอสมควร เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือใหักับลูกค้า
สิ่งที่ควรมีในแคตตาล็อก
1. สินค้าที่ดูเด่นชัด
การทำให้สินค้าที่เราต้องการขายให้ดูโดดเด่นให้ได้มากที่สุด เพื่อให้คนที่เข้าอ่านแล้วสามารถรู้ได้ว่าเรากำลังขายสินค้าประเภทไหน
2. รายละเอียดของสินค้า
การแสดงรายละเอียดของสินค้าควรที่จะมีรายละให้ครบถ้วนที่สุดเพื่อให้อ่านแล้วเข้าใจง่ายและช่วยให้คนเข้ามาหาสินค้าของเราอีกด้วย
ส่วนประกอบของแคตตาล็อกจะมีอยู่ 3 ส่วน
ส่วนที่ 1 หน้าปกของแคตตาล็อก
ส่วนที่ 2 เนื้อในหรือรายละเอียดของแคตตาล็อก
ส่วนที่ 3 ปกหลังของแคตตาล็อก
สิ่งที่ต้องคิดก่อนออกแบบ
1. กำหนดวัตถุประสงค์
การกำหนดวัตถุประสงค์หรือหัวข้อก่อนออกแบบ เพื่อให้งานออกตรงตามวัตถุประสงค์ที่เราต้องการ
2. มีการวางแผนก่อนทำ
ในการออกแบบต้องมีการวางแผนก่อนแล้วทำตามที่วางไว้เพื่องานออกมาตรงกับสิ่งที่ต้องการที่สุดและเสียเวลาให้น้อยที่สุด
3. ขนาดของกระดาษ
ในการออกแบบต้องรู้ขนาดของกระดาษก่อนเพื่อออกแบบแล้วลงกระดาษได้พอดี ไม่ว่าจะเป็นขนาด A3, A4, A5
4. การใส่รูปและข้อมูล
การใส่ข้อมูลควรใส่ให้มีรายละเอียดให้ครบและรูปภาพสินค้าที่จะขายต้องทำให้ดูโดดเด่นขึ้นมาก
ขั้นตอนการเตรียมงานก่อนส่งพิมพ์
1. ออกแบบ
การออกแบบต้องมีการคิดตรงกับวัตถุประสงค์
2. การเช็คไฟล์งานก่อนส่งพิมพ์
การเช็คไฟล์ต้องใช้ไฟล์ที่ดูแล้วสมบูรณ์ที่สุด และสามารถนำไฟล์นี้ไปทำเพลทได้เลยและยังช่วยให้ทางโรงพิมพ์ส่งงานให้ได้เร็วหรือตามกำหนดอีกด้วย
3. ส่งไฟล์งานให้โรงพิมพ์แล้ว
หลังจากที่ไฟล์มาถึงโรงพิมพ์แล้ว ทางของโรงพิมพ์จะมีการตรวจสอบไฟล์งานอีกรอบเพื่อให้ทางโรงพิมพ์สามารถทำงานได้ไม่มีอะไรติดขัดและให้เสร็จภายในเวลาที่กำหนดไว้
4. ขั้นตอนการยิงเพลทหรือแม่พิมพ์
ขั้นตอนการยิงเพลทหรือแม่พิมพ์เป็นส่วนที่สำคัญถ้าพลาดงานออกมาก็จะผิดไปด้วย เลยต้องมีตรวจเช็คเพลทก่อนที่ส่งถึงมือช่าง การตรวจเช็คเพลท เราต้องดูว่ามีอะไรผิดปกติไปอยู่ในงานไหม และยังต้องเช็คคราบสกปรกบนหน้าเพลทอีกด้วยและการออกเพลทจะมีการแยกสีกันอย่างชัดเจน งานมีกี่สีจะต้องใช้เพลทจำนวนที่เท่ากับจำนวนสีของงาน เช่น งาน 1 สี เพลทก็จะใช้ 1 แผ่น งาน 4 สี เพลทก็จะมี 4 แผ่น
ขั้นตอนการพิมพ์
ขั้นตอนนี้ก็ต้องมีการเช็คเพลทอีกครั้งเพื่อไม่ให้งานเกิดข้อผิดพลาดและการพิมพ์จะต้องมีการเช็คสีด้วย ว่าที่พิมพ์ออกมาแล้วตรงกับตัวอย่างทุกแผ่นไหม บางครั้งที่พิมพ์ตอนแรกสีอาจจะตรงแต่พอพิมพ์ไปสักพักก็อาจจะสีไม่ตรงก็ได้ ดังนั้นช่างต้องดูอยู่ตลอดเวลา
หลังจากที่พิมพ์งานเสร็จแล้ว
1. การเคลือบ
ถ้าลูกค้าต้องการให้แคตตาล็อกของเขามีความแข็งแรงและทนทานก็นำไปเคลือบ PVC จะเป็น PVC ด้าน หรือ PVC เงา ก็ได้ขึ้นอยู่กับความต้องการของลูกค้า หรือถ้าลูกค้าต้องให้สินค้าของเขาดูโดดเด่นก็จะนำไปเคลือบ SPOT UV ก็จะทำให้ส่วนที่ถูกเคลือบเด่นขึ้นมา
2. การพับ
ขั้นตอนในการพับต้องพับให้เรียงหน้ากันอย่างถูกต้อง
3. การเก็บเล่ม
การเก็บเล่มทำเพื่อให้เวลาเข้าเล่มเสร็จแล้วหน้าเรียงต่อกันและไม่ข้ามหน้า
4. การเข้าเล่ม
การเข้าเล่มของแคตตาล็อกส่วนใหญ่จะมีอยู่ 2ประเภท
– การเข้าเล่มแบบเย็บแม็ก
การเข้าเล่มแบบเย็บแม็ก เป็นการใช้แม็กเย็บลงไปตรงกลางของกระดาษ 2 ตัว หรือ 3 ตัว ก็ได้ แต่จะไม่ค่อยแข็งแรงเท่าไหร่
– การเข้าเล่มแบบไสกาว
ถ้าใช้การเล่มเข้าประเภทนี้กับหนังสือที่จำนวนหน้าไม่เยอะจะทำให้หนังสือแข็งแรงพอสมควรแต่จะไม่เหมาะกับที่มีหน้าเยอะๆ เพราะจะทำให้หลุดง่าย
5. การแพ็คงาน
การแพ็คงานเพื่อจัดส่งให้กับลูกค้าและยังช่วยให้เวลาย้ายงานทำได้สะดวกยิ่งขึ้น
6. การส่งงาน
การส่งงานให้ถึงลูกค้าควรส่งให้ไวที่สุดและตามจำนวนถูกต้องตามที่ลูกค้าต้องการ
สรุป
แคตตาล็อกเป็นการโฆษณาอีกชนิดหนึ่งสามารถออกแบบให้แคตตาล็อกของเราดูแตกต่างจากคนอื่นและดูโดดนเด่นที่สุด เพื่อให้เข้าถึงคนทุกเพศ ทุกวัยและเข้าคนได้มากที่สุด
- โบรชัวร์
-
รับพิมพ์โบรชัวร์ แผ่นพับ
โรงพิมพ์โบรชัวร์ของเรารับพิมพ์โบชัวร์ รับทำโบรชัวร์ แผ่นพับ ทุกรูปแบบ
โบรชัวร์มีไว้เพื่อเสนอสินค้าหรือโฆษณาโดยตรง ไม่ว่าจะเป็น การโฆษณาขายสินค้า , การโฆษณาบริษัท เพื่อให้เป็นที่รู้จักต่อคนทั่วไปเพราะส่วนใหญ่เราจะเห็นกันทั่วไปเวลาเดินไปในห้าง ก็มักจะมีการแจกโบรชัวร์กันเต็มไปหมด ดังนั้นเราจึงรู้ได้ว่าการพิมพ์โบรชัวร์มีไว้สำหรับโฆษณา
ขนาดกระดาษที่นิยมพิมพ์โบรชัวร์
1. ขนาด A6 คือ (14.85 x 10.50 เซนติเมตร)
2. ขนาด A5 คือ (14.8 x 21 เซนติเมตร)
3. ขนาด A4 คือ (21 x 29.7 เซนติเมตร)
4. ขนาด A3 คือ (29.7 x 42 เซนติเมตร)
ชนิดกระดาษที่ใช้ทำโบรชัวร์ ทำแผ่นพับ
กระดาษที่ใช้ทำโบรชัวร์ขึ้นอยู่กับลูกค้าว่าต้องการกระดาษแบบไหน ไม่ว่าจะเป็น กระดาษปอนด์ 60 แกรม , 70 แกรม , 80 แกรม , 85 แกรม , และ 100 แกรม หรือจะเป็นกระดาษอาร์ตมัน 85 แกรม , 100 แกรม , 105 แกรม , 120 แกรม , 130 แกรม , และ 160 แกรม ลูกค้าสามารถเลือกชนิดกระดาษได้และยังเลือกอีกว่าจะพิมพ์กี่สี 1 สี , 2 สี , 3 สี , 4 สี ก็ได้
สิ่งที่ควรมีในการทำโบรชัวร์
1. รูปโฆษณาที่โดดเด่น
การที่ทำให้รูปสินค้าหรือสิ่งที่การขายต้องทำให้ดูโดดเด่นมากที่สุดเพื่อให้คนที่อ่านแล้วรู้ว่าเราโฆษณาอะไร
2. ข้อมูล
การใส่ข้อมูลจะเป็นสิ่งที่อยากโฆษณาให้ข้อมูลตรงกันหรือจะเพิ่มข้อมูลของบริษัทไปด้วยก็ได้
3. การพับ
เราต้องดูด้วยว่าเราต้องพับแบบไหนเพื่อให้เรียงหน้าปกและเนื้อที่ไว้สำหรับข้อมูลควรใส่ข้อมูลไว้ตรงไหนบ้าง
สิ่งที่ควรคิดก่อนทำโบรชัวร์
1. กำหนดหัวข้อ
กำหนดหัวข้อว่าเราจัดทำโบรชัวร์ขึ้นเพื่อนำไปโฆษณาอะไรเพื่อให้ออกแบบได้ตรงกับข้อหัว
2. วางแผน
การที่จะออกแบบเราต้องมีการคิดก่อนว่างานจะออกมาประมาณไหน เพื่อไม่ให้เสียเวลาและในการทำแล้วใช้ไม่ได้ จะต้องคิดหลายๆอย่าง เช่น การพับ , ขนาดกระดาษ , ข้อมูลที่จัดเตรียมไว้เพื่อจะใส่ ดังนั้นการออกแบบควรที่จะคิดถึงเรื่องเหล่านี้ก่อนที่จะลงมือออกแบบ
3. การเลือกขนาดกระดาษของโบรชัวร์
การเลือกใช้กระดาษควรที่จะเลือกกระดาษให้เหมาะสมกับข้อมูลที่จะใส่ด้วย ไม่ว่าจะเป็นขนาดกระดาษ A6 , A5 , A4 , A3 ดังนั้นขนาดกระดาษก็เป็นเรื่องที่สำคัญในการใส่ข้อมูล
4. การใส่ข้อมูล
การใส่ข้อมูลไม่ควรใส่ข้อมูลที่เยอะเกินไปเพราะพื้นที่โบรชัวร์มีอยู่อย่างจำกัดและควรจะใช้ฟอนต์ที่อ่านได้ง่ายและสีให้ตัดกับสีพื้นอย่างชัดเจนเพื่อคนอ่านได้ง่าย
5. การเลือกใช้สี
การเลือกใช้สีควรที่จะใช้สีพื้นกับสีตัวอักษรที่ตัดกันอย่างชัดเจน เพื่อให้โบรชัวร์ของเราดูโดดเด่นเป็นที่สนใจของคนที่เข้าอ่านโบรชัวร์ ถ้าเราเลือกสีพื้นกับสีตัวอักษรที่ใกล้เคียงกันเกินไปอาจจะทำให้คนที่อ่านแล้วไม่อยากอ่านต่อเพราะมันอ่านเยอะเกินไป
ขั้นตอนก่อนการพิมพ์โบรชัวร์
1. การออกแบบ
การออกแบบต้องคิดหลายๆอย่าง เช่น การพับ , ขนาดกระดาษ , ข้อมูลที่จัดเตรียมที่จะใส่ ดังนั้นการออกแบบควรที่จะคิดถึงเรื่องเหล่านี้ก่อนที่จะลงมือออกแบบ เพื่อให้เสียเวลาในการทำน้อยที่สุด
2. การตรวจสอบไฟล์หลังออกแบบ
การตรวจสอบไฟล์หลังออกแบบเสร็จแล้วเพื่อไม่ให้งานผิดพลาดและยังเป็นการช่วยให้โรงพิมพ์ทำงานได้รวดเร็ว
3. การส่งไฟล์ให้โรงพิมพ์
การส่งไฟล์ให้กับโรงพิมพ์ควรเป็นไฟล์ที่สมบูรณ์ที่สุดเละสามารถออกเพลทได้เลย เพื่อให้งานส่งถึงคุณได้ทันเวลา ถ้าเราส่งไฟล์ที่ไม่สมบูรณ์ให้กับทางโรงพิมพ์แล้ว ทางโรงพิมพ์เช็คไฟล์แล้วไม่สมบูรณ์โรงพิมพ์จะให้คุณแก้ เพราะทางโรงพิมพ์จะไม่แก้ไขงานของคุณ
4. ขั้นตอนการออกเพลท
ขั้นตอนการออกเพลทเพื่อนำไปเข้าเครื่องพิมพ์ก่อนที่จะทำการออกเพลทคนที่ออกเพลทเขาจะต้องตรวจสอบไฟล์อีกครั้งเพื่อไม่ให้ผิดพลาดหลังจากที่ยิงเพลทออกมาแล้วคนที่ยิงเพลทจะต้องมีการเช็คเพลทว่ามีรอยอะไรไปอยู่ในงานรึป่าวและเช็คตัวอักษรว่ามีตัวอักษรหายไปไหม ก่อนที่จะส่งต่อให้ช่างพิมพ์
ขั้นตอนการพิมพ์โบรชัวร์
ขั้นตอนการพิมพ์โบรชัวร์จะต้องการตรวจเช็คสีของงานที่พิมพ์ออกมาอยู่ตลอดเวลาเพื่อให้สีตรงกับตัวอย่างมากที่สุด ดังนั้นช่างพิมพ์จะต้องมีความสามารถได้ด้านการพิมพ์พอสมควรเพราะการพิมพ์มีข้อผิดพลาดได้ตลอดเวลา จึงต้องมีช่างพิมพ์ที่มีประสบการณ์เพื่อให้งานผิดพลาดน้อยที่สุด
ขั้นตอนหลังการพิมพ์
1. ขั้นตอนการตัดซอย
ขั้นตอนการตัดซอยให้งานมาเป็นขนาดที่เราต้องการไม่ว่าจะเป็นขนาด A6 , A5 , A4 , A3 ส่วนใหญ่งานโบรชัวร์จะถูกเลย์มาหลายๆตัวให้ลงใบพิมพ์ ได้พอดี เลยต้องมีการตัดซอยให้งานออกเป็นขนาดที่เราต้องการและแบ่งกันอย่างชัดเจน
2. ขั้นตอนการพับ
ขั้นตอนการพับขึ้นอยู่กับลูกค้าว่าต้องการทำแผ่นพับแบบไหน เช่น พับครึ่ง , 2 พับ 3 ตอน , 3 พับ 4 ตอน , พับซิกแซก 2 พับ 3 ตอน , พับซิกแซก 3 พับ 4 ตอน ขึ้นอยู่กับลูกค้าระบุมาแบบไหน
3. ขั้นตอนการแพ็คของ
ขั้นตอนการแพ็คของเพื่อเตรียมจัดส่งให้ลูกค้าและสามารถขนย้ายได้สะดวกและสวยงามกว่าส่งงานไปแบบไม่ห่ออะไรเลย
4. ขั้นตอนการส่งงาน
ขั้นตอนการส่งงานควรที่จะจัดส่งให้ถึงลูกค้าตามที่กำหนดไว้ หรือถ้าไม่ทันจริงควรมีการแจ้งลูกค้าก่อน (จัดส่งฟรีภายใน 30 กม. จาก บ.เอบิซ)
- แคตตาล๊อก
-
แคตตาล็อก
แคตตาล็อกมีไว้สำหรับโฆษณาต่างๆ คล้ายๆกับโบรชัวร์เป็นการโฆษณาเหมือนกันแต่แคตตาลอกจะไม่ใช่กระดาษแผ่นเดียวแคตตาลอกจะมีกว่า 2 หน้า และจะมีการเข้าเล่ม ส่วนใหญ่ที่เห็นการเข้าเล่มของแคตตาล็อกจะเป็นการเข้าเล่มแบบเย็บแม็ก เพราะงานแคลตาล็อกจะมีจำนวนไม่เยอะมาก
ประเภทของแคตตาล็อก
1. แคตตาล็อกที่ขายสินค้าโดยตรง
แคตตาล็อกที่ขายสินค้าโดยตรงก็คือจะมีรูปสินค้าที่เป็นจุดเด่นและจะมีรายละเอียดเกี่ยวกับสินค้าที่จะขาย เพื่อทำให้สินค้าของเราเป็นที่รู้จักและให้เข้าถึงให้ได้มากที่สุด
2. แคตตาล็อกที่จะนำเสนอเกี่ยวกับบริษัท
แคตตาล็อกที่จะนำเสนอเกี่ยวกับบริษัทของตัวเองเพื่อให้บริษัทของเราเป็นที่รู้จักต่อคนทั่วไปและจะรายละเอียดเกี่ยวกับบริษัทอยู่ว่าบริษัทของเราเป็นบริษัทประเภทไหนทำธุรกิจเกี่ยวกับอะไร
3. แคตตาล็อกที่ขายสินค้าและมีหน้าร้าน
จะเป็นแคตตาล็อกที่ขายสินค้าแล้วมีหน้าร้านจริงๆไว้ต้อนรับลูกค้าที่เข้ามาซื้อสินค้าของเรา การที่มีหน้าร้านดีตรงที่ว่าลูกค้าสามารถจับต้องสินค้าก่อนที่จะซื้อได้
4. แคตตาล็อกที่ขายสินค้าแต่ไม่มีหน้าร้าน
แคตตาล็อกที่ขายสินค้าแต่ไม่มีหน้าร้าน ส่วนใหญ่จะเป็นการขายสินค้าที่ส่งตรงถึงลูกค้าเลย แต่การขายประเภทนี้จะต้องมีเครดิตมากพอสมควร เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือใหักับลูกค้า
สิ่งที่ควรมีในแคตตาล็อก
1. สินค้าที่ดูเด่นชัด
การทำให้สินค้าที่เราต้องการขายให้ดูโดดเด่นให้ได้มากที่สุด เพื่อให้คนที่เข้าอ่านแล้วสามารถรู้ได้ว่าเรากำลังขายสินค้าประเภทไหน
2. รายละเอียดของสินค้า
การแสดงรายละเอียดของสินค้าควรที่จะมีรายละให้ครบถ้วนที่สุดเพื่อให้อ่านแล้วเข้าใจง่ายและช่วยให้คนเข้ามาหาสินค้าของเราอีกด้วย
ส่วนประกอบของแคตตาล็อกจะมีอยู่ 3 ส่วน
ส่วนที่ 1 หน้าปกของแคตตาล็อก
ส่วนที่ 2 เนื้อในหรือรายละเอียดของแคตตาล็อก
ส่วนที่ 3 ปกหลังของแคตตาล็อก
สิ่งที่ต้องคิดก่อนออกแบบ
1. กำหนดวัตถุประสงค์
การกำหนดวัตถุประสงค์หรือหัวข้อก่อนออกแบบ เพื่อให้งานออกตรงตามวัตถุประสงค์ที่เราต้องการ
2. มีการวางแผนก่อนทำ
ในการออกแบบต้องมีการวางแผนก่อนแล้วทำตามที่วางไว้เพื่องานออกมาตรงกับสิ่งที่ต้องการที่สุดและเสียเวลาให้น้อยที่สุด
3. ขนาดของกระดาษ
ในการออกแบบต้องรู้ขนาดของกระดาษก่อนเพื่อออกแบบแล้วลงกระดาษได้พอดี ไม่ว่าจะเป็นขนาด A3, A4, A5
4. การใส่รูปและข้อมูล
การใส่ข้อมูลควรใส่ให้มีรายละเอียดให้ครบและรูปภาพสินค้าที่จะขายต้องทำให้ดูโดดเด่นขึ้นมาก
ขั้นตอนการเตรียมงานก่อนส่งพิมพ์
1. ออกแบบ
การออกแบบต้องมีการคิดตรงกับวัตถุประสงค์
2. การเช็คไฟล์งานก่อนส่งพิมพ์
การเช็คไฟล์ต้องใช้ไฟล์ที่ดูแล้วสมบูรณ์ที่สุด และสามารถนำไฟล์นี้ไปทำเพลทได้เลยและยังช่วยให้ทางโรงพิมพ์ส่งงานให้ได้เร็วหรือตามกำหนดอีกด้วย
3. ส่งไฟล์งานให้โรงพิมพ์แล้ว
หลังจากที่ไฟล์มาถึงโรงพิมพ์แล้ว ทางของโรงพิมพ์จะมีการตรวจสอบไฟล์งานอีกรอบเพื่อให้ทางโรงพิมพ์สามารถทำงานได้ไม่มีอะไรติดขัดและให้เสร็จภายในเวลาที่กำหนดไว้
4. ขั้นตอนการยิงเพลทหรือแม่พิมพ์
ขั้นตอนการยิงเพลทหรือแม่พิมพ์เป็นส่วนที่สำคัญถ้าพลาดงานออกมาก็จะผิดไปด้วย เลยต้องมีตรวจเช็คเพลทก่อนที่ส่งถึงมือช่าง การตรวจเช็คเพลท เราต้องดูว่ามีอะไรผิดปกติไปอยู่ในงานไหม และยังต้องเช็คคราบสกปรกบนหน้าเพลทอีกด้วยและการออกเพลทจะมีการแยกสีกันอย่างชัดเจน งานมีกี่สีจะต้องใช้เพลทจำนวนที่เท่ากับจำนวนสีของงาน เช่น งาน 1 สี เพลทก็จะใช้ 1 แผ่น งาน 4 สี เพลทก็จะมี 4 แผ่น
ขั้นตอนการพิมพ์
ขั้นตอนนี้ก็ต้องมีการเช็คเพลทอีกครั้งเพื่อไม่ให้งานเกิดข้อผิดพลาดและการพิมพ์จะต้องมีการเช็คสีด้วย ว่าที่พิมพ์ออกมาแล้วตรงกับตัวอย่างทุกแผ่นไหม บางครั้งที่พิมพ์ตอนแรกสีอาจจะตรงแต่พอพิมพ์ไปสักพักก็อาจจะสีไม่ตรงก็ได้ ดังนั้นช่างต้องดูอยู่ตลอดเวลา
หลังจากที่พิมพ์งานเสร็จแล้ว
1. การเคลือบ
ถ้าลูกค้าต้องการให้แคตตาล็อกของเขามีความแข็งแรงและทนทานก็นำไปเคลือบ PVC จะเป็น PVC ด้าน หรือ PVC เงา ก็ได้ขึ้นอยู่กับความต้องการของลูกค้า หรือถ้าลูกค้าต้องให้สินค้าของเขาดูโดดเด่นก็จะนำไปเคลือบ SPOT UV ก็จะทำให้ส่วนที่ถูกเคลือบเด่นขึ้นมา
2. การพับ
ขั้นตอนในการพับต้องพับให้เรียงหน้ากันอย่างถูกต้อง
3. การเก็บเล่ม
การเก็บเล่มทำเพื่อให้เวลาเข้าเล่มเสร็จแล้วหน้าเรียงต่อกันและไม่ข้ามหน้า
4. การเข้าเล่ม
การเข้าเล่มของแคตตาล็อกส่วนใหญ่จะมีอยู่ 2ประเภท
– การเข้าเล่มแบบเย็บแม็ก
การเข้าเล่มแบบเย็บแม็ก เป็นการใช้แม็กเย็บลงไปตรงกลางของกระดาษ 2 ตัว หรือ 3 ตัว ก็ได้ แต่จะไม่ค่อยแข็งแรงเท่าไหร่
– การเข้าเล่มแบบไสกาว
ถ้าใช้การเล่มเข้าประเภทนี้กับหนังสือที่จำนวนหน้าไม่เยอะจะทำให้หนังสือแข็งแรงพอสมควรแต่จะไม่เหมาะกับที่มีหน้าเยอะๆ เพราะจะทำให้หลุดง่าย
5. การแพ็คงาน
การแพ็คงานเพื่อจัดส่งให้กับลูกค้าและยังช่วยให้เวลาย้ายงานทำได้สะดวกยิ่งขึ้น
6. การส่งงาน
การส่งงานให้ถึงลูกค้าควรส่งให้ไวที่สุดและตามจำนวนถูกต้องตามที่ลูกค้าต้องการ
สรุป
แคตตาล็อกเป็นการโฆษณาอีกชนิดหนึ่งสามารถออกแบบให้แคตตาล็อกของเราดูแตกต่างจากคนอื่นและดูโดดนเด่นที่สุด เพื่อให้เข้าถึงคนทุกเพศ ทุกวัยและเข้าคนได้มากที่สุด
โบรชัวร์ / แผ่นพับ
ราคา รับทําโบรชัวร์ รับทำแผ่นพับ แบบไม่เคลือบ
เลือกชนิดกระดาษ > กระดาษ ปอนด์ 80 แกรม
จำนวน(ชุด)
ราคาไม่พับต่อ(ชุด)
จำนวนพับ(ชุด)
500
–
–
1000
–
–
2000
–
–
3000
–
–
5000
–
–
กระดาษ ปอนด์ 80 แกรม
จำนวน(ชุด) |
ราคาไม่พับต่อ(ชุด) |
จำนวนพับ(ชุด) |
500 | – | – |
1000 | – | – |
2000 | – | – |
3000 | – | – |
5000 | – | – |
เลือกชนิดกระดาษ > กระดาษ ปอนด์ 80 แกรม
จำนวน(ชุด)
ราคาไม่พับต่อ(ชุด)
จำนวนพับ(ชุด)
500
–
–
1000
–
–
2000
–
–
3000
–
–
5000
–
–
กระดาษ ปอนด์ 80 แกรม
จำนวน(ชุด) |
ราคาไม่พับต่อ(ชุด) |
จำนวนพับ(ชุด) |
500 | – | – |
1000 | – | – |
2000 | – | – |
3000 | – | – |
5000 | – | – |
เลือกชนิดกระดาษ > กระดาษ ปอนด์ 80 แกรม
จำนวน(ชุด)
ราคาไม่พับต่อ(ชุด)
จำนวนพับ(ชุด)
500
–
–
1000
–
–
2000
–
–
3000
–
–
5000
–
–
กระดาษ ปอนด์ 80 แกรม
จำนวน(ชุด) |
ราคาไม่พับต่อ(ชุด) |
จำนวนพับ(ชุด) |
500 | – | – |
1000 | – | – |
2000 | – | – |
3000 | – | – |
5000 | – | – |
- ราคาโบรชัวร์ A5
-
เลือกชนิดกระดาษ >
กระดาษ ปอนด์ 80 แกรม
จำนวน(ชุด)
ราคาไม่พับต่อ(ชุด)
จำนวนพับ(ชุด)
500 – – 1000 – – 2000 – – 3000 – – 5000 – – - ราคาโบรชัวร์ A4
-
เลือกชนิดกระดาษ >
กระดาษ ปอนด์ 80 แกรม
จำนวน(ชุด)
ราคาไม่พับต่อ(ชุด)
จำนวนพับ(ชุด)
500 – – 1000 – – 2000 – – 3000 – – 5000 – – - ราคาโบรชัวร์ A3
-
เลือกชนิดกระดาษ >
กระดาษ ปอนด์ 80 แกรม
จำนวน(ชุด)
ราคาไม่พับต่อ(ชุด)
จำนวนพับ(ชุด)
500 – – 1000 – – 2000 – – 3000 – – 5000 – –
ราคา โบรชัวร์ แผ่นพับ แบบเคลือบUV
รูปแบบการพับโบรชัวร์
ขนาดกระดาษ
ฟรีเทมเพลต ทําโบรชัวร์ แผ่นพับ
ไฟล์เทมเพลตให้ดาวโหลด
ขนาด A4 (29.7 x 21 ซม) – พับขนาน_Abiz
ขนาด A4 (29.7 x 21 ซม) – พับซิกแซก 2 ทบ_Abiz
ขนาด A4 (29.7 x 21 ซม) – พับซิกแซก 3 ทบ_Abiz
ขนาด A4 (29.7 x 21 ซม) – พับแบบจดหมาย_Abiz
ขนาด A4 (29.7 x 21 ซม) – พับแบบม้วน_Abiz
ขนาด A4 (29.7 x 21 ซม) – พับแบบหน้าต่าง_Abiz
ขนาด A4 (29.7 x 21 ซม) – พับหนึ่งทบแนวตั้_Abiz
ขนาด A4 (29.7 x 21 ซม) – พับหนึ่งทบแนวนอน_Abiz
ขนาด A4 (63 x 29.7 ซม) – พับซิกแซก 2 ทบ_Abiz
ขนาด A4 (84 x 29.7 ซม) – พับซิกแซก 3 ทบ_Abiz
บริการจัดส่งของเราจะส่งตามกำหนดเวลาที่ลูกค้าระบุไว้ และจัดส่งแค่กรุงเทพฯและปริมณฑลเท่านั้น (จัดส่งฟรีภายใน 30 กม. จาก บ.เอบิซ)
ลูกค้าท่านใดสนใจที่จะให้เรารับทำสติ๊กเกอร์ให้ลูกค้าคิดถึงโรงพิมพ์สติ๊กเกอร์ของเราเพราะได้ทั้งงานที่มีคุณภาพ , งานที่ถูกใจลูกค้า , และยังมีบริการจัดส่งที่รวดเร็ว ถ้าลูกค้าสนใจสามารถติดต่อเข้ามาสอบถามรายละเอียดจากโรงพิมพ์สติ๊กเกอร์ของเราได้เลยหรือจะเข้ามาหาเราที่โรงพิมพ์เลยก็ได้ เราอยู่ย่าน โรงพิมพ์พระราม 2 หรือ โรงพิมพ์สมุทรสาคร เรารับรองว่าเราจะบริการลูกค้าที่เข้ามาอย่างเต็มที่ที่สุดและจะไม่ทำให้ลูกค้าผิดหวังกับโรงพิมพ์สติ๊กเกอร์ของเรา เรายังรับทำโบรชัวร์ รับพิมพ์หนังสือ รับพิมพ์กระดาษรองจาน รับทำปฏิทิน รับทำการ์ดเชิญ และสิ่งพิมพ์อื่นๆ อีกมากมาย